หลอด LED
หลอด LED เริ่มใช้กันทั่วหลายตั้งแต่เมื่อ ปี ค.ศ.1962 โดยย่อมาจาก “Light Emitting Diode” ที่หมายถึงไดโอดที่สามารถส่องแสงได้ ในยุคนี้ยังมีแสงสว่างไม่มากนัก เพราะยังไม่มีเทคโนโลยีที่สามารถพัฒนาได้ไม่มาก จะสังเกตุได้จากแสงไฟจำพวก รีโมท,โทรทัศน์, ไมโครเวฟ, เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น
หรือช่วงแสงที่เรียกว่า “แสงอินฟราเรด (Infra-red)” หรือที่เรียกอีกชื่อหนึ่งคือ รังสีความร้อน,รังสีใต้แดง เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีช่วงคลื่นยาวประมาณ 10 -10 เป็น แสงสีแดงมี อุณหภูมิอยู่ที่ –2,00 องศาเซลเซียส ถึง 4,000 องศาเซลเซียส ต่อมาได้มีการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆจนมาในปัจจุบัน ได้มีเทคโนโลยีที่ทำให้ตัวหลอดไฟ LED นั้นมีความสว่างมากขึ้นกว่าเดิม และกินกำลังไฟน้อยลงหรือวัตต์ (วัตต์คือหน่วยวัดการกินไฟของไฟฟ้า)
ถ้าวัตต์น้อยลง จะทำให้หลอดไฟไม่ร้อน คงทนต่อสภาพทุกแวดล้อม แต่อย่างไรก็ตามในปัจจุบันหลอดไฟ LED นั้นได้นำมาใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยฉเพาะ ใช้เป็น ป้ายโฆษณา ป้ายไฟต่างๆ ไฟตกแต่งรถ ไฟประดับสวน จอโทรทัศน์ และเครื่องใช้ไฟฟ้าทั่วไปโดยแสงอินฟราเรดแบ่งเป็นสองแบบ คือ แบบแรกสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าและ แบบที่สองคือแบบที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยสายตา ซึ่งแสงอินฟราเรดที่สามารถมองด้วยได้สายตาเปล่านั้นจะมีลักษณะเป็นหลอดสีๆ ในปัจจุบันก็ยังติดปัญหาการผลิต เพราะในการผลิตนั้นยังมีต้นทุนที่สูงแต่ ในอีกไม่นานอนาคตอาจจะมีกำลังที่ผลิตมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งจะทำให้ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการผลิตสินค้านั้น จะถูกลง และปัจจุบันได้มีการใช้หลอดไฟ LEDแทนหลอดฟลูออเรสเซนต์
ระบบการทำงานของ LED
การต่อวงจรของหลอไฟ LED ไม่ได้เป็นวงจรที่ยากมากมาย แต่เพียงจ่ายกระแสไฟฟ้ากระแสตรงขั้วบวก เข้าที่ขาของหลอดไฟ LED “อาร์โนด (Anode)” สังเกตุขาของหลอดไฟจะยาวกว่าอีกข้าง และต่อกระแสไฟฟ้ากระแสตรงขั้วลบเข้ากับขา “แคโธด(Cathode)” ซึ่งเป็นขาสั้นกว่านั้นเอง สามารถทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมตรงตัว LED ที่เรียกชื่อว่า “Vf (Forward Voltage)” เมื่อเกิดมีแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมตรงที่ตัว “Vf” ที่ว่านี้ และด้วยคุณสมบัติของสารกึ่งตัวนำในหลอดไฟ LED ก็จะส่องแสงออกและเพื่อการจำกัดไม่ให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าสู่ หลอดไฟLED มากจนเกินไป ต้องมีตัวต่อ ที่เรียกว่าตัวต้านทาง R หรือ Resistor เข้าไปในวงจรนี้
Comments are closed.